กัญชา Og Kush ว่ากันว่ามีสาร THC สูง นิยมใช้ในทางสันทนาการ
กัญชา Og Kush สิ่งหนึ่งที่ไม่ได้มีการถกเถียงกันเป็นความนิยมของสายพันธุ์กัญชานี้ จากดาราฮอลลีวู้ดภาพยนตร์และแร็ปเปอร์กับผู้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ลักษณะที่เห็นได้ชัดที่สุดของ OG Kush มีความเข้มข้นที่ไม่ซ้ำกันคล้ายน้ำมันหอมระเหยส้มเล็กน้อยเกือบจะเหมือนน้ำมันเชื้อเพลิงหรือผงซักฟอกที่เข้มข้น รสชาติของ OG Kush เป็นรสชาตอที่สมูท และรสยาวนาน
OG Kush เป็นสายพันธุ์กัญชาแข็งแรงมากที่มีผู้สูบบุหรี่ที่มีประสบการณ์มากที่สุดรายชื่อเป็นหนึ่งในรายการโปรดของพวกเขา ผลที่ได้คือเป็นที่แข็งแกร่งทางร่างกายมันเป็นจิตใจ แม้ว่าผลของมันเป็นเหมือน Indica พันธุศาสตร์ของความเครียดส่วนใหญ่จะเป็น Sativa ผลที่ได้คือเป็นที่แข็งแกร่งและมีความซับซ้อนเป็นรสชาติ OG เทือกเขาฮินดูกูชใช้เวลาประมาณ 8 สัปดาห์ดอกไม้และโดยเฉลี่ยผลผลิต 45 กรัมต่อต้น
OG Kush เป็นที่รู้จักกันสูงไม่มากในช่วงการเจริญเติบโต แต่เร็ว ๆ นี้เริ่มที่จะกรอกในช่วงออกดอก โดยทั่วไปจะมีความสูงจาก 70 ถึง 100 ซม. ตาของมันมีขนาดใหญ่และหนาแน่นกระจุกดาวสีเขียวมะนาวปกคลุมด้วยเรซิ่นจำนวนมาก เหตุผลที่ OG Kush ได้รับความนิยมอย่างมาก มีให้เลือกตั้งแต่ Royal Queen Seedsเพื่อให้คุณสามารถลองใช้สายพันธุ์ที่น่าตื่นตาตื่นใจนี้ได้ด้วยตัวคุณเอง
คุณลักษณะต่างๆ ของกัญชา Og Kush
THC 19% + –
ย่านศูนย์กลางธุรกิจขนาดกลาง
ผลผลิตในร่ม 425-475gr m2
อัตราผลตอบแทนกลางแจ้ง 500 550-กรัมต่อต้นแห้ง
ความสูง 90 ในร่ม – 160 ซม.
ความสูงกลางแจ้ง 180 – 220 ซม.
ออกดอกเวลา 7 9-สัปดาห์
เก็บเกี่ยวเดือนตุลาคม
ประวัติความเป็นมาทางพันธุกรรม Chemdawg x มะนาวไทย x ปากีสถานเทือกเขาฮินดูกูช
พิมพ์ Sativa: 25% Indica: 75%
ผลผ่อนคลายและเต็มไปด้วยรสชาติ
กัญชา Og Kush สายพันธุ์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ในหมู่นักปลูก
กัญชาสายพันธุ์ยอดฮิตตลอดกาล โอจีคุช OG Kush เป็นกัญชาสายพันธุ์ที่โด่งดังไปทั่วโลก บางที่ก็บอกไว้ว่า OG Kush เป็นสายพันธุ์ลูกผสมระหว่าง Chemdawg และ Hindu Kush พันธุ์พื้นเมือง
กัญชาสายพันธุ์ OG Kush ถูกนำมาพัฒนาต่อจนเกิดเป็นกัญชาสายพันธุ์ดังๆอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสายพันธุ์ Bubba Kush, GSC , Headband, Tahoe OG, Ghost OG เป็นต้น
คำว่า OG เป็นที่ถกเถียงกันว่าย่อมาจากอะไร บางคนก็บอกว่ามันย่อมาจาก original gangster แต่บางคนก็บอกว่ามันย่อมาจาก ocean grown ซึ่งมีที่มาจากการที่ถูกปลูกขึ้นแถบชายฝั่งของรัฐแคลิฟอเนีย
อยากปลูกกัญชาต้องทำอย่างไร กัญชาน่ารู้
การปลูกแนะนำเป็นสายพันธุ์ไทยดูแลง่าย เหมาะกับอากาศบ้านเรา เช่น พันธุ์หางกระรอกหาง่าย ราคาค่อนข้างถูก เหมาะกับมือใหม่หัดปลูก เน้นใช้ในครัวเรือน นำใบมาประกอบอาหาร กัญชาน่ารู้ เกี่ยวกับการปลูก
เริ่มเพาะเมล็ด
- นำเมล็ดมา ห่อด้วยทิชชู่ พรมน้ำให้ชุ่ม
- ใส่กระปุก ปิดฝา เก็บไว้ในที่มืดไม่ให้โดนแสงแดด
- 2-3 วัน ให้เช็กว่ามีรากงอกรึยัง ถ้ามีเป็นอันใช้ได้
เพาะต้นอ่อน
- ใช้ พีทมอส เพราะสามารถเติบโตได้ดี เมล็ดมีโอกาสโตได้เยอะ
- บางคนจะผสม พีทมอส เวอร์มิคูลไลท์ เพอร์ไลท์ ส่วนมากจะเป็น 70% 10% 10%
- นำเมล็ดฝังในดินไม่ต้องลึกมาก
- ปลูกในที่ร่มสัก 2-3 วัน พรมน้ำให้ชุ่ม (อย่าแฉะ)
- พอวันที่ 3 ให้เอาออกไปรับแดด
- ประมาณ 10 วันเตรียมย้ายลงกระถาง
ปลูกต้นกัญชาลงกระถาง
- เริ่มจากกระถางเล็กก่อน เช่น 6 นิ้ว
- เตรียมดิน ง่ายสุดคือ หน้าดิน ปุ๋ยหมัก 1 ต่อ 1 ผสมกัน
- หรือหาซื้อดินสำหรับปลูกกัญชามาใช้
- นำต้นมาใส่ อย่ารดน้ำมากเกินไป
ประโยชน์ของสาร THC
- ลดการคลื่นไส้จากยาเคมีบำบัด
- ลดอาการปวดเรื้อรัง
- ลดอาการเบื่ออาหารในผู้ป่วยบางกลุ่ม (ต้องใช้ภายใต้การดูแลของแพทย์)
- ลดการเกร็งในผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทบางชนิด ได้แก่ Multiple sclerosis
โทษของสาร THC
- ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
- เมาหลอนประสาท
- เสพติดและเพิ่มอัตราการฆ่าตัวตาย
- เกิดภาวะเป็นพิษเมื่อได้รับเป็นปริมาณสูง
ประโยชน์ของสาร CBD
ประโยชน์ของสาร CBD ที่มีงานวิจัยรองรับ คือ ใช้รักษาโรคลมชักในเด็กเฉพาะกลุ่มอาการ Lennox-Gastaut และ Dravet
ส่วนประโยชน์ต่อร่างกายและสมองที่มีแนวโน้มจะเป็นไปได้ แต่ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษาวิจัย มีดังนี้
- บรรเทาอาการวิตกกังวล
- ลดความเสี่ยงสมองฝ่อ
- รักษาต้อหินที่ดวงตา
- บรรเทาอาการหอบหืด
- ลดอาการปวดเกร็งกล้ามเนื้อ
- รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง
- ช่วยควบคุมอาการลมชักบางชนิด
ข้อดี ข้อเสียของกัญชา
ข้อดีของกัญชา
- หากคุณกำลังเบื่ออาหาร มีความอยากอาหารน้อยลง การรับประทานกันชาสามารถช่วยให้คุณมีความอยากอาหารมากขึ้น
- รู้สึกไม่สบาย มีอาการวิงเวียนหัวคลื่นไส้อาเจียน การรับประทานกันชาสามารถบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
- ในใบกัญชามีสาร Cannabinoids หากผู้ที่มีอาการซึมเศร้าได้สารรับตัวนี้ สามารถลดพฤติกรรมรุนแรงทางด้านอารมณ์ลงได้
- ในงานวิจัยได้ค้นพบว่า สาร THC ที่อยู่ในใบกัญชาสามารถป้องกันโรคอัลไซเมอร์
- กัญชาทำให้เนื้องอกเนื้อร้ายอย่างมะเร็งหดเหี่ยวลดลงได้
- ผู้ที่นอนไม่ค่อยหลับ การรับประทานกัญชาจะช่วยให้คุณหลับสบายมากขึ้น
ข้อเสียของกัญชา
- เนื่องจากกัญชามีฤทธิ์กระตุ้นประสาท หากผู้เสพใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้ผู้เสพมีอาการมึนเมาคล้ายเหล้า เห็นภาพหล่อน หูแวว หวาดระแวง ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้
- ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต ไม่ควรเสพกัญชา เพราะจะส่งผลให้เกิดความสับสน วิตกกังวล สมาธิสั้น จนถึงขั้นเสียการทรงตัว
- การเสพกัญชาในปริมาณและติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้ร่างกายของคุณเสื่อมโทรมและอาจก่อให้เกิดโรคได้ง่ายขึ้น เช่น โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง น้ำหนักตัวลดลง ซูบผอม
- กัญชายังทำให้ปริมาณอสุจิในเพศชายลดน้อยลง เพราะมีฤทธิ์ที่ส่งผลต่อฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของเพศชาย
- การสูบกัญชาในปริมาณ 4 ม้วน เทียบเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง และยังมีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่สูงถึง 5 เท่า
กัญชาเป็นยารักษาโรค/ภาวะอาการที่สามารถใช้ยากัญชาได้
6 โรค/ภาวะอาการ ที่สารกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา โดยมีข้อมูลวิชาการสบับสนุนชัดเจน ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
- โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
- ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
- ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักน้อย
- การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต
4 กลุ่มโรค / ภาวะ ที่น่าจะได้รับประโยชน์จากสารกัญชา แต่ยังต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม
- โรคพาร์กินสัน
- โรคอัลไซเมอร์
- โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง)
- โรคอื่น ๆ ที่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการว่าน่าจะได้ประโยชน์
คนที่ไม่สามารถใช้ยากัญชาได้
- กำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
- มีความเสี่ยงสูงในการทำร้ายตนเอง
- โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตจากสารเสพติด โรคจิตเภท
- รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
- โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตับ โรคไต ที่มีอาการรุนแรง
- มีประวัติแพ้สารสกัดกัญชา