รู้หรือไม่ กัญชามีประโยชนือย่างไร

รู้หรือไม่ กัญชาคืออะไร ถูกควบคุมกฎหมายในไทยอย่างไร

รู้หรือไม่_H1

รู้หรือไม่ กัญชาถูกจัดให้เป็นพืชสกุล Cannabis อยู่ในวงศ์ Cannabaceae มี 3 สายพันธุ์ที่พบบ่อย ได้แก่ สายพันธุ์ซาติวา (Cannabis sativa) สายพันธุ์อินดิกา (Cannabis indica) และสายพันธุ์รูเดอราลิส (Cannabis ruderalis) ส่วนคำว่ามาลีฮวนน่า (Marijuana) เป็นคำแสลงที่ใช้ส่วนดอกของต้นกัญชานำมาสูบ กัญชาจึงเป็นพืชล้มลุกจำพวกหญ้า ต้นสูงประมาณ 2-4 ฟุต ใบแตกเป็นแฉกคล้ายใบสัมปะหลังหรือใบละหุ่ง ริมใบทุกแฉกมีลักษณะเป็นจักๆ ใบหนึ่งมีราว 5-8 แฉก ในก้านเดียวกัน ออกดอกตามง่ามกิ่งก้านกัญชาเคยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตาม รู้หรือไม่ กฎหมายเกี่ยวกับกัญชา พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 และต่อมาประกาศจากกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2565 มีผลบังคับใช้เมื่อ 9 มิ.ย. 2565 ส่งผลให้ทุกส่วนของพืชกัญชา-กัญชง ไม่เป็นยาเสพติด ยกเว้นสารสกัดที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนาบินอล (Tetrahydrocannabinol – THC, ∆9-THC) เกิน 0.2 % ที่ยังต้องถูกจัดในหมวดหมู่ยาเสพติดให้โทษ แต่การสูบกัญชาในที่สาธารณะ และรบกวนสิทธิผู้อื่น มีความผิดตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 โทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 25,000 บาท และการสูบกัญชาในที่สาธารณะ ยังไม่มีกฎหมายควบคุมโดยตรง เช่น บุหรี่ ที่มี พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ ควบคุมอยู่

เรื่องน่ารู้ : รู้หรือไม่ กัญชามีประโยชนือย่างไร

กัญชา คือพืชล้มลุกจำพวกหญ้า ต้นสูงประมาณ 2-4 ฟุต ใบแตกเป็นแฉกคล้ายใบสัมปะหลังหรือใบละหุ่ง ริมใบทุกแฉกมีลักษณะเป็นจักๆ ใบหนึ่งมีราว 5-8 แฉก ในก้านเดียวกัน ออกดอกตามง่ามกิ่งก้าน โดยใบกัญชาสดจะอุดมไปด้วยสารอาหารทั้งวิตามิน แร่ธาตุ และสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด

กลุ่มผู้ที่ไม่ควรใช้กัญชา

  1. เด็กวัยกำลังเจริญเติบโตและเรียนรู้ และวัยรุ่นหรือผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี
  2. ผู้ที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
  3. สตรีมีครรภ์ หรือสตรีที่ให้นมบุตร
  4. ผู้ที่มีประวัติเป็นโรคทางจิต หรือเสพติดยาที่เคยมีผลกระทบต่อระบบประสาทและสมอง

การประยุกต์ใช้กัญชาเพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพคุณ

  1. กัญชาทางการแพทย์
  2. กัญชาประกอบอาหารและเครื่องดื่ม
  3. อาหารเสริมกัญชา

ความเสี่ยงจากผลข้างเคียงการใช้กัญชา

  1. ผลกระทบระยะสั้น
  2. ตาแดง ปากแห้ง และความอยากอาหารเพิ่มขึ้น
  3. หายใจเร็ว ความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจที่สูงผิดปกติ
  4. ความรู้สึกเชื่องช้ากระบวนการคิดและการแก้ปัญหาบกพร่อง
  5. หลงๆ ลืมๆ ความจำบกพร่อง
  6. สมาธิสั้น
  7. การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง
  8. อารมณ์แปรปรวน

ผลกระทบระยะยาว

  1. ความพึงพอใจในการใช้ชีวิตลดลง เกิดความซึมเศร้าด้อยค่าตนเอง
  2. สุขภาพจิตแย่ลง เกิดความเครียด วิตกกังวล และหวาดระแวงจาก
  3. การการทำงานของระบบประสาทและสมองที่ผิดเพี้ยน
  4. สุขภาพร่างกายแย่ลง ภูมิคุ้มกันโรคอ่อนแอ และเกิดโรคแทรกซ้อนเรื้อรังต่างๆ
  5. เกิดปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัวและคนรอบข้าง
  6. มีมุมมองต่อสังคมในด้านลบ และหวาดระแวง
  7. ก่อเกิดปัญหาทางสังคมและอาชญากรรม

การประยุกต์ใช้กัญชาเพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพคุณรู้หรือไม่ กัญชาช่วยรักษา

รักษาโรค

ห้โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่ “ปลอดกัญชา และกัญชง”

“งดจำหน่ายและห้ามโฆษณา” อาหาร ขนม และเครื่องดื่ม ที่มีส่วนผสมของกัญชาหรือกัญชงภายในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร รู้หรือไม่ ดอกกัญชาไทย

สรรพคุณจากใบกัญชาสด

เมื่อพิจารณาจากมุมมองขององค์ประกอบทางชีวเคมีเพียงอย่างเดียว ใบกัญชาดิบเป็นแหล่งวิตามิน แร่ธาตุ และเส้นใยอาหารที่ดีเยี่ยม ประกอบไปด้วยสารประกอบสารต้านอนุมูลอิสระและแร่ธาตุต่างๆ ที่สำคัญ

รู้หรือไม่ ยารักษาโรคจากกัญชา

  1. วิตามินซี (Vitamin C) ช่วยสร้างและสนับสนุนระบบภูมิคุ้มกัน ลดความเสี่ยงในการเป็นหวัด และหากออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเป็นประจำร่วมด้วย จะสามารถลดความเสี่ยงในการเป็นหวัดได้ถึง50%
  2. วิตามินเค (Vitamin K) ช่วยในการแข็งตัวของเลือด

ธาตุเหล็ก (Iron) ช่วยในการสร้างฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของเม็ดเลือดแดง ทำหน้าที่ลำเลียงออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะต่างในร่างกาย

  1. แคลเซียม (Calcium) มีหน้าที่สำคัญต่อการทำงานของร่างกายเกือบทุกส่วน และที่สำคัญยังมีหน้าที่สร้างกระดูก ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักของร่างกาย
  2. โพแทสเซียม (Potassium) มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ รักษาสมดุลของน้ำ กรด-ด่างในร่างกาย ควบคุมความดันโลหิตของผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
  3. สังกะสี (Zinc) เป็นสารที่สนับสนุนสังเคราะห์ DNA หรือโปรตีน เสริมประสิทธิภาพการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันและระบบเผาผลาญ การซ่อมแซมบาดแผลหรือเนื้อเยื่อที่อักเสบ สนับสนุนพัฒนาและการเจริญเติบโตของเซลล์ การรับรสและกลิ่น และยังสามารถป้องกันการเกิดโรคทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคคลั่งผอม (Anorexia Nervosa) โรคสมาธิสั้น และอาการเสื่อมและอักเสบในร่างกาย เช่น สิวเห่อเรื้อรัง จอประสาทตาเสื่อม
  4. โฟเลตหรือวิตามินบี 9 (Folic Acid / Vitamin B9) มีหน้าที่สำคัญในการสร้างเซลล์ เนื่องจากมีส่วนสำคัญในการช่วยสังเคราะห์ดีเอ็นเอ (DNA)

สารแคโรทีนอยด์ เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และสารต้านมะเร็ง

สารเซเลเนียม ป้องกันและชะลอความชรา

สารลิโมนีนที่พบในเลมอนช่วยต้านแบคทีเรีย

สารแอนโทไซยานินที่พบในผลไม้สีแดง ช่วยป้องกันการตกตะกอนของเกล็ดเลือดและช่วยป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ อย่างโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ

สารเทอร์ปีนซึ่งเป็นสารให้กลิ่นเฉพาะช่วยให้ผ่อนคลาย บรรเทาความเครียด

สารเบต้าแคโรทีนที่มักพบในแครอทช่วยบำรุงสายตา ผิวพรรณ สร้างภูมิคุ้มกัน ป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด

เมล็ดกัญชาค่ายไหนดีที่สุด_

ข้อดี ข้อเสียของกัญชา

ข้อดีของกัญชา

  1. หากคุณกำลังเบื่ออาหาร มีความอยากอาหารน้อยลง การรับประทานกันชาสามารถช่วยให้คุณมีความอยากอาหารมากขึ้น
  2. รู้สึกไม่สบาย มีอาการวิงเวียนหัวคลื่นไส้อาเจียน การรับประทานกันชาสามารถบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
  3. ในใบกัญชามีสาร Cannabinoids หากผู้ที่มีอาการซึมเศร้าได้สารรับตัวนี้ สามารถลดพฤติกรรมรุนแรงทางด้านอารมณ์ลงได้
  4. ในงานวิจัยได้ค้นพบว่า สาร THC ที่อยู่ในใบกัญชาสามารถป้องกันโรคอัลไซเมอร์
  5. กัญชาทำให้เนื้องอกเนื้อร้ายอย่างมะเร็งหดเหี่ยวลดลงได้
  6. ผู้ที่นอนไม่ค่อยหลับ การรับประทานกัญชาจะช่วยให้คุณหลับสบายมากขึ้น

ข้อเสียของกัญชา

  1. เนื่องจากกัญชามีฤทธิ์กระตุ้นประสาท หากผู้เสพใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้ผู้เสพมีอาการมึนเมาคล้ายเหล้า เห็นภาพหล่อน หูแวว หวาดระแวง ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้
  2. ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต ไม่ควรเสพกัญชา เพราะจะส่งผลให้เกิดความสับสน วิตกกังวล สมาธิสั้น จนถึงขั้นเสียการทรงตัว
  3. การเสพกัญชาในปริมาณและติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้ร่างกายของคุณเสื่อมโทรมและอาจก่อให้เกิดโรคได้ง่ายขึ้น เช่น โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง น้ำหนักตัวลดลง ซูบผอม
  4. กัญชายังทำให้ปริมาณอสุจิในเพศชายลดน้อยลง เพราะมีฤทธิ์ที่ส่งผลต่อฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของเพศชาย
  5. การสูบกัญชาในปริมาณ 4 ม้วน เทียบเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง และยังมีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่สูงถึง 5 เท่า
กัญชาเป็นยารักษาโรค/ภาวะอาการที่สามารถใช้ยากัญชาได้

6 โรค/ภาวะอาการ ที่สารกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา โดยมีข้อมูลวิชาการสบับสนุนชัดเจน ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด

  • โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
  • ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
  • ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักน้อย
  • การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต

4 กลุ่มโรค / ภาวะ ที่น่าจะได้รับประโยชน์จากสารกัญชา แต่ยังต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม

  • โรคพาร์กินสัน
  • โรคอัลไซเมอร์
  • โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง)
  • โรคอื่น ๆ ที่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการว่าน่าจะได้ประโยชน์
คนที่ไม่สามารถใช้ยากัญชาได้
  • กำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
  • มีความเสี่ยงสูงในการทำร้ายตนเอง
  • โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตจากสารเสพติด โรคจิตเภท
  • รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
  • โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตับ โรคไต ที่มีอาการรุนแรง
  • มีประวัติแพ้สารสกัดกัญชา

เว็บข่าวกัญชา :: weedbong420.com

เว็บไซต์แฟนเพจสนุก :: Weedzbong420