กัญชาแมวคืออะไร

กัญชาแมว หรือแคตนิป มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า เนเพตา คาทาเรีย – Nepeta cataria เป็นพืชสมุนไพรในตระกูลมินต์ เดิมพบได้ในบางพื้นที่ของทวีปเอเชียและยุโรป ก่อนจะกระจายไปแทบทุกมุมโลกในปัจจุบัน คุณอาจสังเกตเห็นต้นกัญชาแมวขึ้นอยู่ตามถนนในชนบท กัญชาแมวมีโทษหรือป่าว และเป็นพืชทนแล้งที่บางคนก็ปลูกไว้ในสวนญาชาแมว หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า Catnip (ชื่อวิทยาศาสตร์ Nepeta cataria) เป็นพืชตระกูลมิ้นท์ บางคนอาจจะเรียกว่าต้นหญ้าแมวก็ได้ ที่ใบและก้านของต้นกัญชาแมวจะมีสารชื่อว่า Nepetalactone ซึ่งสารตัวนี้เองที่ทำให้แมวรู้สึกเคลิบเคลิ้ม มีความสุข บางทีก็ตื่นเต้นจนแสดงท่าทางแปลก ๆ จึงไม่แปลกที่เรามักเห็นแมวชอบกัดหรืองับต้นกัญชาแมวอยู่เสมอ ๆ เพราะว่ามันทำให้พวกเขารู้สึกดีนั่นเอง กัญชาแมวไม่ได้มีผลแค่เฉพาะในแมวเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังมีผลต่อสัตว์ตระกูลแมวทั้งหมด เช่น เสือ สิงโต ก็สามารถฟินไปกับกัญชาแมวได้เช่นกัน
กัญชาแมว มีผลต่อแมวอย่างไร
กัญชาแมวมีอาการยังไง ลองให้แมวเข้าใกล้ต้นกัญชาแมว แล้วคุณจะพบกับอาการเคลิ้มของแมว โดยจะเริ่มจากการเลียและถูตัวกับต้นกัญชาแมว จากนั้นคุณจะเห็นอาการแปลก ๆ ของเขาแมวมักจะแสดงอาการตื่นเต้นผิดปกติ อาจยืดตัว น้ำลายไหล หรือไม่ก็กระโจนขึ้นลง บ้างก็วิ่งไปมาอย่างคึกคะนอง ในขณะที่บางตัวอาจมีอาการเชื่องหรือสงบมากกว่าปกติ โดยแมวแต่ละตัวมีอาการตอบสนองแตกต่างกันไป กัญชาแมวมีผลต่อสัตว์อื่นไหมผลลัพธ์ที่ได้จากการสูดดมกัญชาแมวจะอยู่แค่ชั่วคราว และมักหายไปภายในครึ่งชั่วโมง โดยแมวจะมีภูมิต้านทานต่อฤทธิ์กัญชาแมวในช่วงสั้น ๆ และเป็นเรื่องปกติที่แมวจะค่อนข้างนิ่งหลังจากมีปฏิกิริยาเคลิบเคลิ้มเหล่านั้นจนกว่าฤทธิ์จะหมดไป
กัญชาแมวออกฤทธิ์อย่างไร

กัญชาแมวมีผลต่อสัตว์อื่นไหม สารประกอบอินทรีย์ในกัญชาแมวที่เรียกว่า เนเพตาแล็กโตน (nepetalactone) เป็นสิ่งที่ทำให้แมวมีอาการเหล่านั้น เมื่อแมวดมเข้าไป สารตัวนี้จะจับกับเซลล์รับกลิ่นแล้วส่งสัญญาณไปยังสมอง
ไม่มีใครเข้าใจว่าทำไมสารชนิดนี้ถึงส่งผลแปลก ๆ ต่อแมว นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่า สมองของแมวตีความว่านี่คือสารแห่งความสุข ‘ฟีโรโมน’ ทำให้พวกเขามีพฤติกรรมเหล่านั้น เนเพตาแล็กโตน อยู่ในหัวขนาดเล็กจิ๋วที่เคลือบใบ ก้าน และฝักของต้นกัญชาแมว สารจะถูกปลดปล่อยออกมาเมื่อถูกขยี้ เคี้ยว หรือเมื่อแมวถูตัวกับต้น
วิธีให้กัญชาแมว
กัญชาแมวช่วยกระตุ้นให้แมวของคุณมีพฤติกรรมที่ดีได้ เช่น หากแมวที่เลี้ยงในบ้านต้องการออกกำลังกายมากเป็นพิเศษ ลองใส่กัญชาแมวลงในของเล่นชิ้นโปรดเพื่อทำให้การเล่นของเขาสนุกตื่นเต้นยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้กระตุ้นให้แมวหันไปสนใจของเล่นบางชิ้นได้ หากคุณต้องการให้แมวลับเล็บกับอุปกรณ์ที่คุณเตรียมให้แทนที่จะเป็นเฟอร์นิเจอร์ของคุณ คุณอาจนำกัญชาแมวไปขยี้กับเสาลับเล็บหรือโรยไว้ที่ฐานเสา
ผลของสมุนไพรชนิดนี้คือจะทำให้แมวสนใจและอยากรู้ว่าของเล่นชิ้นนี้เป็นอย่างไร
ถ้าแมวของคุณมีปฏิกิริยาที่นิ่งสงบ (ตรงกันข้ามกับอาการร่าเริงสุดขีด) คุณก็สามารถใช้กัญชาแมวขณะเดินทางเพื่อลดความวิตกกังวลได้ โดยโรยกัญชาแมวลงในกระเป๋าใส่แมวเพื่อช่วยลดความเครียด
อะไรคือต้นกัญชาแมว? การใช้และสรรพคุณ

กัญชาแมวมีโทษหรือป่าว ทำไมเจ้าหญ้าแมวนี้ถึงดึงดูดน้องเหมียวคุณนักล่ะ และคุณจะใช้หญ้าแมวนี้อย่างไรดีให้น้องเหมียวมีความสุขกันนะทาสแมวส่วนใหญ่คงคุ้นเคยกับต้นแคทนิปหรือกัญชาแมวกันเป็นอย่างดี และอาจเคยชมคลิปวิดีโอที่เหล่าแมวเหมียวกำลังกลิ้งตัวหรือถูไถตัวเองไปกับต้นแคทนิป จนเกิดอาการแปลก ๆ ตลกขบขัน คึกคักผิดปกติ ชวนให้หัวเราะได้ไม่ยากเลย
กัญชาแมวปลอดภัยกับแมวจริงไหม ไขข้อข้องใจทาสแมว แคทนิปคืออะไร ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของแคทนิปคือ “เนเพตา คาทาเรีย (Nepeta Cataria)” จัดอยู่ในตระกูลมิ้นต์ พบได้มากในบริเวณที่มีแดดจัด รวมทั้งรัฐในอเมริกาเหนือและบางภูมิภาคในยุโรป หนึ่งในส่วนประกอบสำคัญของต้นหญ้าชนิดนี้คือ “เนเพตาแล็กโตน Nepetalactone” ซึ่งเป็นสารที่ทำให้เจ้าเหมียวแต่ละตัวมีอาการตอบสนองแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับอายุและขนาดตัวของพวกเค้า เจ้าสารตัวนี้จะถูกผลิตออกมาในปริมาณเล็กน้อย โดยเคลือบอยู่บริเวณใบ ก้าน และฝักของลำต้นที่มักจะแตกออก ทำให้น้องแมวได้กลิ่นจนเกิดความสนใจแคทนิปคือต้นหญ้าใบเขียวที่พบมากในบริเวณที่มีดินระบายน้ำได้ดี ลักษณะใบเป็นรูปทรงคล้ายหัวใจ ใบมีขอบหยัก และมีขนอ่อน ๆ ปกคลุมอยู่ทั่วลำต้นหนา
ข้อดี ข้อเสียของกัญชา
ข้อดีของกัญชา
- หากคุณกำลังเบื่ออาหาร มีความอยากอาหารน้อยลง การรับประทานกันชาสามารถช่วยให้คุณมีความอยากอาหารมากขึ้น
- รู้สึกไม่สบาย มีอาการวิงเวียนหัวคลื่นไส้อาเจียน การรับประทานกันชาสามารถบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
- ในใบกัญชามีสาร Cannabinoids หากผู้ที่มีอาการซึมเศร้าได้สารรับตัวนี้ สามารถลดพฤติกรรมรุนแรงทางด้านอารมณ์ลงได้
- ในงานวิจัยได้ค้นพบว่า สาร THC ที่อยู่ในใบกัญชาสามารถป้องกันโรคอัลไซเมอร์
- กัญชาทำให้เนื้องอกเนื้อร้ายอย่างมะเร็งหดเหี่ยวลดลงได้
- ผู้ที่นอนไม่ค่อยหลับ การรับประทานกัญชาจะช่วยให้คุณหลับสบายมากขึ้น
ข้อเสียของกัญชา
- เนื่องจากกัญชามีฤทธิ์กระตุ้นประสาท หากผู้เสพใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้ผู้เสพมีอาการมึนเมาคล้ายเหล้า เห็นภาพหล่อน หูแวว หวาดระแวง ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้
- ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต ไม่ควรเสพกัญชา เพราะจะส่งผลให้เกิดความสับสน วิตกกังวล สมาธิสั้น จนถึงขั้นเสียการทรงตัว
- การเสพกัญชาในปริมาณและติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้ร่างกายของคุณเสื่อมโทรมและอาจก่อให้เกิดโรคได้ง่ายขึ้น เช่น โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง น้ำหนักตัวลดลง ซูบผอม
- กัญชายังทำให้ปริมาณอสุจิในเพศชายลดน้อยลง เพราะมีฤทธิ์ที่ส่งผลต่อฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของเพศชาย
- การสูบกัญชาในปริมาณ 4 ม้วน เทียบเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง และยังมีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่สูงถึง 5 เท่า
กัญชาเป็นยารักษาโรค/ภาวะอาการที่สามารถใช้ยากัญชาได้
6 โรค/ภาวะอาการ ที่สารกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา โดยมีข้อมูลวิชาการสบับสนุนชัดเจน ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
- โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
- ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
- ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักน้อย
- การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต
4 กลุ่มโรค / ภาวะ ที่น่าจะได้รับประโยชน์จากสารกัญชา แต่ยังต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม
- โรคพาร์กินสัน
- โรคอัลไซเมอร์
- โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง)
- โรคอื่น ๆ ที่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการว่าน่าจะได้ประโยชน์
คนที่ไม่สามารถใช้ยากัญชาได้
- กำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
- มีความเสี่ยงสูงในการทำร้ายตนเอง
- โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตจากสารเสพติด โรคจิตเภท
- รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
- โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตับ โรคไต ที่มีอาการรุนแรง
- มีประวัติแพ้สารสกัดกัญชา